บทความ

MOSFET Ultrasonic18000Hz เปรียบเสมือนสมองกลที่2ของรถยนต์ มั่นใจด้วยวงเงินประกัน10ล้านบาท

รูปภาพ
NANOpulser 2in1 Save Energy & Safe car อุปกรณ์ช่วยประหยัดพลังงานและความปลอดภัยในรถ สมองคอมพิวเตอร์อัจฉริยะ  CPU Central Processing Unit หน่วยประมวลผลกลาง คำนวณและตัดสินใจจากคำสั่งที่ได้รับมา ป้อนโปรแกรมsoftware และรหัสป้องกัน อุ่นใจได้ตลอด24ชั่วโมง   ผลิตโดยกลุ่มบ.พานาโซนิค จดสิทธิบัตรโลก ปีพ.ศ.2548  Save Energy&Save Earth มายาวนานกว่า15ปี (ประเทศที่พัฒนาแล้ว จะเห็นได้จากการใส่ใจในเรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อม) > นวัตกรรมสีเขียว เพียงเจ้าเดียว การเสนอการแก้ปัญหา ที่มีประสิทธิภาพให้แก่โลก Made in Japan Advance Semiconductor Technology เทคโนโลยี สารกึ่งตัวนำ ขั้นสูง ในการสร้างคลื่นความถี่สูง18000Hz ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของสมองกลECUที่ใช้ความถี่8,000-25,000Hz ช่วยทำให้กระแสไฟเต็มและมีความเสถียรตลอดเวลา  ช่วยแก้ปัญหาหลักของรถยนต์คือ ไดชาร์ทมีเวลาผลิตกระแสไฟไม่พอกับการใช้งาน  และการเกิดผลึกบนแผ่นธาตุในแบตเตอรี่ ทรานซิสเตอร์ T -transistorทำหน้าที่ควบคุมกระแสไฟฟ้า (M-O-S-F-E-T) MOSFETขนาด22nm (เล็กกว่าเส้นผม5,000เท่า) เทียบกับเส้น

NANOpulserช่วยประหยัดน้ำมัน ตอบสนองอัตราเร่ง ECU Electronics Control Unit หน่วยควบคุมอิเล็คทรอนิคส์ ควบคุมการจ่ายเชื้อเพลิงและการจุดระเบิดให้แม่นยำในเครื่องยนต์EFI Electronic Fuel Injection

รูปภาพ
หลักการทำงานคล้าย วิทยุทรานซิสเตอร์ มีการรับส่งสัญญาณ เพื่อถอดรหัสเป็นคำสั่ง ชุดคำสั่งถูกเก็บไว้ในRAM ROM คล้ายCPUคอมพิวเตอร์ จึงนิยมเรียกว่า กล่องสมองกลECU Nanopulser สุดยอดเทคโนโลยีรายเดียวของโลก (สิทธิบัตรโลก WO/2005/083830) จากกลุ่ม Panasonic ประเทศญี่ปุ่น ด้วยหลักการปล่อยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง Ultrasonic18,000Hzกระแสไฟต่ำเพียง0.025Aเข้าไปภายในกล่อง ECU (โมดูลต่างๆ และเซ็นเซอร์)

Pulse Generator สร้างคลื่นสัญญาณในรูปแบบต่างๆ เปรียบเสมือนรหัสคำสั่ง Nanopulser สร้างคลื่นไฟฟ้าความถี่สูงUltrasonic ด้วยกระแสไฟที่คงที่ ตลอดเวลา เพื่อช่วยให้ECU อุปกรณ์ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคทำงานได้แม่นยำตลอดเวลา ยืดอายุการใช้งานจากปัญหากระแสไฟไม่คงที่

รูปภาพ
ECU หลักการทำงานคล้าย วิทยุทรานซิสเตอร์ มี การรับส่งสัญญาณ เพื่อถอดรหัสเป็นคำสั่ง ชุดคำสั่งถูกเก็บไว้ในRAM ROM คล้ายCPUคอมพิวเตอร์ ECUได้รับสัญญาณเข้าที่ถูกส่งมาจากตัวรับรู้ ตัวรับรู้อาจส่งสัญญาณเป็นแรงเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ หรือรวดเร็วในรูปแบบที่เป็น คลื่นสัญญาณต่าง ๆ เรียกว่า พัลส์ (Pulses) เช่นคลื่นรูปสี่เหลี่ยม (Square Wave) คลื่นรูปไซน์ (Sine Wave) คลื่นรูปฟันเลื่อย (Sawtooth Wave)