Horse Power Torque ที่รอบเครื่องยนต์เท่ากัน แรงบิดและเแรงม้าเพิ่มขึ้น 1ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงน้อยลง ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงมากขึ่น 2เพิ่มสมรรถนะในการขับขี่

  1."ความเร็วรอบเครื่องยนต์  บอกให้ทราบถึงค่าของ แรงบิด แรงม้า (ดูกราฟ)

คันเร่งเพิ่ม=>น้ำมันเชื้อเพลิงเพิ่ม=>(แรงบิดเพิ่ม  ความเร็วรอบเครื่องยนต์เพิ่ม=แรงม้าเพิ่ม)  เช่น

 (ที่3100rpm. xใช้แรงบิด10kg.m )x0.001376=แรงม้า50PS
 (ที่5800rpm xแรงบิดเพิ่ม22kg.m)x0.001376=แรงม้า170PS

แรงบิด(Torque)คือแรงเพื่อหมุน รอบเครื่องยนต์(เพลา ข้อเหวี่ยง)
.(แรงม้าคือค่าความสัมพันธ์!ของแรงบิดและความเร็วรอบต่อเวลา)
       
2."ความเร็วรอบเครื่องยนต์  บอกให้ทราบถึงค่าของ  ความเร็วสูงสุดของเกียร์"    เช่น
เกียร์6=(6200/3.52)/8.2 =214km/hr
เกียร์1=(6200/14.90)/8.2=51km/hr
(ความเร็วคือค่าความสัมพันธ์!ของ รอบและ อัตราทดเกียร์ที่กำลังใช้อยู่)  
" คันเร่ง, เกียร์ เพิ่มแรงบิด" เช่น
เกียร์ อัตรทด เฟืองส่ง       เฟืองรับ
   1     3.27:1  200Nm       654Nm 
   4         1:1   200Nm       200 Nm 
ที่5800rpm แรง22kg.m(200Nm)
"ลดเกียร์ต่ำเมื่อ รอบเครื่องยนต์และความเร็วเริ่มลดลง!เพราะแรงไม่พอ"
(MAZDAมีไฟเตือนให้เปลี่ยนเกียร์)
 






"แรงบิดและแรงม้า(แกนY) จะมีค่าตามรอบเครื่องยนต์(แกนX)"(Engine Speed)
ที่รอบเครื่องยนต์เท่ากัน" คือ5800rpm  แรงบิดเพิ่มขึ้น=21.67kg.m  แรงม้าเพิ่มขึ้น=170 PS
 "  การเผาไหม้เชื้อเพลิงสมบูรณ์ขึ้น ทำให้สร้างแรงบิดได้มากขึ้น!  แรงม้าเพิ่มขึ้น "      
(จะเห็นได้ชัดเจนเมื่อใช้Nanopulser) "เหยียบคันเร่งน้อยกว่า   การประหยัดน้ำมันมากกว่า"  
     (  Nanopulserช่วยให้กระแสไฟคงที่ตลอดเวลา ECUทำงานได้แม่นยำตลอดเวลา)
(เส้นกราฟลดลงเนื่องจาก การดูดอากาศไม่พอ  รถที่แรงม้าสูงมากจะมีการดูดอากาศได้ดี! )
"ดังนั้น การเป่าไส้กรองอากาศจึงเป็นเรื่องสำคัญ!"


 นอกจากเรื่องการเหยียบคันเร่ง  กระแสไฟคงทึ่แบตเตอรี่ที่เก็บไฟได้ดี น้ำมันหล่อลื่นและสารทำความสะอาดเครื่องยนต์ลดเขม่าลดแรงเสียดทานลดการสึกหรอลูกสูบและกระบอกลูกสูบ ช่วยยืดระยะเวลาการล้างหัวฉีดน้ำมันแล้ว การรักษาแรงดันลมยางให้เหมาะสมตลอดเวลา การเป่าหม้อกรองอากาศทุก2,000กม.ขึ้นอยู่กับสภาพละอองฝุ่น จะช่วยประหยัดน้ำมันมากกว่า15%



การวางแผนออกเดินทางล่วงหน้า ช่วยให้การขับรถยนต์ไม่เร่งรีบ   ทำให้ประหยัดน้ำมันแล้ว ยังช่วยลดโอกาสการเกิดอุบัติเหตุจากการขับขี่ด้วยความเร็วสูง



Mazda win the 1991 24 Hours of Le Mans ในเรื่องของ แรงม้าไม่สามารถบอกสมรรถนะได้อย่างแท้จริง โดยไม่จำเป็นที่เครื่องยนต์ที่มีแรงม้ามากกว่า จะมีอัตราเร่ง ความเร็วดีกว่าเครื่องยนต์ที่มีแรงม้าน้อย อย่างเช่นมาสด้าแรงม้า250PSสามารถชนะ300PS ในการแข่งขันLe Mans 24ชั่วโมง ความสำคัญอยู่ที่น้ำหนักรถ อัตราทดเกียร์ ฯลฯ ในสนามแข่งมีโค้งมากมาย การใช้ความเร็วรอบ แรงบิดที่ต่างกัน (แรงบิดมากขึ้นจะสามารถหมุนน้ำหนักมากขึ้นได้ในเวลาเท่าเดิม หากน้ำหนักเท่าเดิมก็จะใช้เวลาในการหมุนน้อยลง)

การเผาไหม้เชื้อเพลิงสมบูรณ์ขึ้น อาจใช้วิธีการทำให้น้ำมันเชื้อเพลิงมีประสิทธิภาพมากขึ้น นาโนเทคโนโลยีของหัวเชื้อน้ำมันเชื้อเพลิงF2-21 ที่ช่วยประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงถึง28% ลดมลพิษจากไอเสียถึง98%เพราะการเผาไหม้สมบูรณ์
อนุภาคเล็กๆเป็นล้านๆเม็ด จะระเบิดออก ก่อให้เกิดการแตกตัวของละอองน้ำมันเล็กๆนับล้านๆเม็ด ทำให้ น้ำมันถูกเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ ช่วยให้ประหยัดน้ำมันและให้กำลังของเครื่องยนต์เพิ่มขึ้น
 ป้องกันปัญหาการสันดาป น้ำมันไม่เป็นไอ100%(Fuel not 100% vaporized) และปัญหาส่วนผสมอากาศกับน้ำมันไม่เข้ากัน(Uneven air fuel mixture)


นอกจากช่วยประหยัดน้ำมัน ยังเป็นผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดเครื่องยนต์ ลดมลพิษ
nano-clusterการระเบิดของอนุภาคเล็กๆ ช่วยกำจัดเขม่าควันภายในลูกสูบเครื่องยนต์ให้สะอาดอยู่เสมอ อัตราส่วน ใช้หัวเชื้อน้ำมันเชื้อเพลิงF2-21( ปริมาณ 10มิลลิลิตร ต่อ น้ำมันเชื้อเพลิง 50ลิตร)
1ขวด ขนาด 120มล. ต่อน้ำมันเชื้อเพลิง 600ลิตร ช่วยประหยัดน้ำมัน 10-28%(168ลิตร) ราคา550บาท แต่ช่วยประหยัดได้(ประมาณ168x33=>5500บาท) ประหยัดมากกว่า10เท่า
 (ขนาดทดลอง20มล.ราคา150บาท )



 องค์การ สหประชาชาติ ( The United Nations ) ได้เลือก F2-21 ให้เป็นหัวเชื้อน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และประหยัดที่สุดสำหรับการลดปัญหามลพิษทางอากาศอันเนื่องมาจากการคมนาคมขน ส่งในเมือง และการอนุรักษ์พลังงานในเอเชีย
อ้างอิง
 ความสัมพันธ์ความเร็วรอบเครื่องยนต์  กับ   ความเร็ว  แรงบิด แรงม้า

ความเร็วสูงสุด=("ความเร็วรอบเครื่องยนต์"/อัตรทดรวม)/8.2

แรงม้า(Horse Power)คือ ค่าความสัมพันธ์ของ  แรงบิด ที่"ความเร็วรอบใดๆ "  ต่อหน่วยเวลา





แรงบิด(Torque)คือแรงเพื่อ หมุน "รอบ"เครื่องยนต์(เพลา ข้อเหวี่ยง!) เกียร์(เฟืองทด เพลาขับ) เฟืองท้าย  ล้อ


แรงบิด(Torque)คือ แรงเพื่อหมุน เพลาและข้อเหวี่ยง (รอบเครื่องยนต์)  เฟืองทดและเพลาขับ(เกียร์)
เป็นแรงจากพลังงานความร้อนของการเผาไหม้เชื้อเพลิงในกระบอกลูกสูบ
  แรงบิด1 กิโลกรัม-เมตร = 9.8 นิวตัน!-เมตร!   

งาน(จูล) W =FS  =แรง(นิวตัน!)xระยะทาง(เมตร!)  วัดจากจุดหมุนในแนวตั้งฉาก!
แรงบิดมีหน่วยเหมือนกับ งาน  แต่....
 "เมื่อเกิดแรงบิด>0คือแรงหมุน  งาน=0"  
เพราะแรงของงานจะมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ!
เมื่อเกิดการเคลื่อนที่แบบวงกลม  แรงมีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ


ในทางตรงกันข้าม  ขณะลูกสูบมีแรงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ศูนย์ตายบน
แรงบิด=0  (F>0  ,  S=0) 
ทิศของแรงผ่านจุดหมุนS=0  ถ้าไม่ผ่านจุดหมุนS>0

 เช่น แรงบิดจากการใช้ประแจขัน(หมุน)น๊อต ถ้าด้ามประแจยาวขึ้น2เท่า
    แรงที่ใช้จะลดลงครึ่งหนึ่ง     2Fx1     =         Fx2
 
          พลังงาน (Power)=งาน ต่อวินาที     หน่วย watt(จูล/วินาที)
1แรงม้า (Horse Power)=แรงบิด ต่อวินาที =746watt(จูล/วินาที) "นั้นคือการวัดค่า พลังงาน"
  watt เป็นหน่วยของ กำลังไฟฟ้า ที่ได้มาจากการวัดด้วยเครื่องไดโนโมมิเตอร์(ไดโน)

 แรงม้าสูงสุด=(รอบต่อนาทีx6.28เมตร/60วินาที)x(แรงบิดx9.8นิวตัน/746วัตต์)=(รอบต่อนาที x แรงบิด)x0.001376 bhp
               brake horse power คือค่าแรงม้าที่วัดจากเพลาข้อเหวี่ยง โดยไม่ผ่านระบบส่งกำลัง(เกียร์)
1รอบ=1เส้นรอบวง= π × เส้นผ่านศูนย์กลาง=π x 2r =3.14x2x1=6.28เมตร
       แรงบิด 1 กิโลกรัม-เมตร = 9.8 นิวตัน-เมตร

อัตราทด คิดอย่างไร
เช่น เกียร์ต่ำ เฟืองส่งตัวเล็ก11ฟัน(เทียบA) เฟืองรับตัวใหญ่36ฟัน(เทียบกับB)  จุดA,Bเคลื่อนที่พร้อมกัน
           ดังนั้น      ,,          หมุน1รอบ                    ,, หมุน1รอบ=36/11=3.27รอบของเฟืองเล็ก=อัตราทด
            หรือ         เฟืองส่งหมุน3.27รอบ         เฟืองรับหมุน1รอบ
 
( เฟืองส่งตัวเล็ก25ฟัน เฟืองรับตัวใหญ่22ฟัน อัตราทด=22/25=0.88)
 เกียร์สูงสุด   Over Drive!ล้อหมุน(1รอบ)มากกว่าเฟือง(0.88รอบ)"    เฟืองส่ง มากกว่า! เฟืองรับ

อัตราทดรวม 
  เกียร์5อัตราทด=0.80 เฟืองท้าย=4.1    "ใช้กำลังน้อยกว่า กินน้ำมันน้อยกว่า!=(เกียร์Over Drive)"
  เกียร์5อัตราทด=0.88เฟืองท้าย=4.3     ใช้กำลังมากกว่า
    "ดังนั้น การเปลี่ยนขนาดของยาง เปรียบเสมือนการเปลี่ยนอัตราทดเฟืองท้าย!"



ความสัมพันธ์ของคันเร่ง(ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิง)  ต่อ กำลังเครื่องยนต์(แรงบิด แรงม้า)  และ    ความเร็ว( รอบเครื่องยนต์  อัตราทด)   

"ที่ความเร็วเท่ากัน" เช่น  ขับด้วยความเร็ว100กม/ชม  ที่รอบ2000rpm (เกียร์5)
     1.ความเร็ว100กม/ชม คงที่ (แรงขับเคลื่อน=แรงต้านการเคลื่อนที่)
     2. เมื่อขับขึ้นเนิน จะมีแรงต้านการเคลื่อนที่มากขึ้น  ความเร็วเริ่มลดลง (แรงขับเคลื่อน<แรงต้านการเคลื่อนที่)  (แรงต้านการเคลื่อนที่มากขึ้นตามความสูง  พลังงานจลน์เปลี่ยนไปเป็นพลังงานศักย์)   แสดงว่ากำลัง(แรง)ขับเคลื่อนไม่พอ  
    3.ดังนั้นเมื่อกำลังไม่พอ ต้องเปลี่ยนกำลัง!  จากอัตราทดเกียร์!
       3.1 " ความเร็วรอบมากขึ้น   ยังใช้ความเร็วเท่าเดิม  ได้ เช่น
  ทางเรียบ ใช้เกียร์5=(2000/อัตรทด)/8.2 =100km/hr      
  ขึ้นเนิน     ใช้กียร์4=(2500/อัตราทด)/8.2=100km/hr
      3.2 " ความเร็วรอบมากขึ้น  แต่ใช้ความเร็วเท่าเดิม  ไม่ได้  " เช่น
 ทางเรียบ ใช้เกียร์6=(6200/3.528)/8.2 =214km/hr( เร็วกว่า)
 ขึ้นเนิน     ใช้กียร์1=(6200/14.909)/8.2=50.714km/hr      

การลงเนินสูง ห้ามเข้าเกียร์ว่าง เพราะพลังงานศักย์จะเปลี่ยนไปเป็นพลังงานจลน์สูงมาก เบรกและยางต้องทำงานหนักมากเกินไป เกียร์ต่ำสามารถช่วยชะลอความเร็วได้(ENGINE BRAKE)

1แรงม้า (Horse Power)=แรงบิด ต่อวินาที =746watt 

         (1watt=จูล/วินาที)            
 (         1จูล =watt . วินาที)       (จูล = งานที่ทำเพื่อให้ได้พลังงาน 1 วัตต์ ต่อเนื่องกันเป็นเวลา 1 วินาที)
(3.6 ล้านจูล=1กิโลwatt . ชั่วโมง)( 3.6 ล้านจูล=      ,,                    1กิโลwatt                          1ชั่วโมง)
น้ำมันเบนซิน1แกลลอน ให้พลังงาน132x106 จูล         หรือ     36.65กิโลวัตต์-ชั่วโมง



การแข่งรถประหยัดพลังงาน สามารถวิ่งได้มากกว่า1,900ไมล์ต่อแกลลอน

     
      "การเปลี่ยนเกียร์แต่ละครั้ง คือ การเปลี่ยนกำลังที่ส่งไปยังล้อ"  

"เกียร์ ช่วยกำลัง(แรง)เครื่องยนต์ ทำงานน้อยลง ได้อย่างไร"

เฟืองรับ(ระยะทาง ) ที่ใหญ่กว่า เฟืองส่ง

ถ้าเฟืองรับ  
ระยะทางยาวขึ้น2เท่า    แรงที่ใช้จะลดลงครึ่งหนึ่ง

(เช่น เฟืองท้ายเกียร์จักรยาน  เรียบง่ายเห็นชัดเจน)






 เฟืองส่ง(เด็กเล็ก)Fx2 = 2Fx1   "เฟืองส่งเล็ก  ระยะทาง(หมุน)มากกว่า  แรงที่ใช้จึงน้อยลง "   เช่น
เกียร์  อัตรทด  เฟืองส่ง            เฟืองรับ
   1      3.27:1   แรง100Nm    แรง327.3Nm
   2     2.18:1    แรง100Nm     แรง218Nm
   3    1.42:1     แรง100Nm      แรง142Nm  
   4         1:1     แรง100Nm      แรง100Nm    

 ความเร็วสูงสุด=("ความเร็วรอบเครื่องยนต์"/อัตรทดรวม)/8.2     
   สมมุติ แรง100Nm ได้ความเร็วรอบเครื่องยนต์6200rpm
            ใช้กียร์1=(6200/14.909)/8.2=50.714km/hr
                 เกียร์6=(6200/3.528)/8.2 =214km/hr  
 1. "เปลี่ยนเกียร์ เพื่อต้องการเพิ่มความเร็ว"เมื่อมีแรงเพียงพอ

          ใช้ เกียร์5=(2000/อัตรทด)/8.2 =100km/hr
               กียร์4=(2500/อัตราทด)/8.2=100km/hr (กำลังเพิ่ม)
  2."เปลี่ยนเกียร์ เพื่อต้องการเพิ่มกำลัง"เมื่อมีแรงไม่พอ


"เกียร์ธรรมดา ที่สามารถเปลี่ยนเกียร์ได้อย่างอัตโนมัติ    2จุดเด่นมารวมกัน"
                             
                                     

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Satun Unesco Global Geopark อุทยานธรณีโลกจังหวัดสตูล สถานที่ท่องเที่ยวระดับโลก แห่งแรกของไทย

masjid in satun มัสยิดธรรมประทีปห้วยน้ำดำ