Rubber Floor พื้นสนามยางพารา เพื่อความปลอดภัย แผ่นพื้นสนามฟุตซอล พื้นสนามเด็กเล่น พื้นกันลื่นห้องน้ำ สระว่ายน้ำ โรงพยาบาล โยคะ ลู่วิ่ง ทางเดิน
พื้นสนามยางพารา รุ่นใหม่ล่าสุด มีจุดเด่นที่สำคัญคือ
1. สีไม่ลอก ไม่ขยายตัวจนพื้นนูนเมื่อเจอความร้อน นั้นคือทนแดดทนฝนมากกว่า7ปี
2. พื้นมีแรงเสียดทานที่ดี และมีความยืดหยุ่นพอเหมาะเพื่อการกีฬา ลูกบาสเก็ตบอลเด้งกระดอนได้ดี นักกีฬาวิ่งได้อย่างมั่นใจ ไม่มีกังวัลเรื่องการลื่น
ลดการบาดเจ็บ เพิ่มความปลอดภัย และเพิ่มประสิทธิภาพ( 3in1 )
เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดคือ พื้นส่วนบนใช้ยางสังเคราะห์ผสมสี ทำให้สีไม่หลุดลอก จึงมั่นใจในคุณภาพ
เฉพาะต้นทุนในเรื่องของสีพื้น ใส่คุณภาพมากกว่า180บาทต่อตารางเมตร(20บาทต่อแผ่น)
ขั้นตอนที่1 การเตรียมวัตถุดิบ คือการสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรชาวสวน
ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุด เพื่อให้ได้
สินค้าที่มีคุณภาพ พร้อมกับสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน( 3in1 )
ขั้นตอนที่2 การป้อนวัตถุดิบ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย การลงทุนเริ่มต้นกว่า20ล้านบาท
จึงมั่นใจในขั้นตอนการผลิต ใช้แป้งในการป้องกันการติด
ไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายสู่ภายนอก จึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่3 การผลิตพื้นส่วนล่าง ด้วยสูตรพิเศษจะได้พื้นที่มีความยืดหยุ่นที่ดี
แม้แต่พับ180องศา ก็ไม่ขาด หรือแห้งกรอบ ต่างจากผลิตภัณฑ์ทั่วไป
ขั้นตอนที่4 การชั่งมาตรฐาน ระหว่าง พื้นส่วนล่างและพื้นส่วนบน(ยางสังเคราะห์ผสมสี คุณภาพสูง)
ขั้นตอนที่5 การเข้าเครื่องหลอมขึ้นรูป(คล้ายกันกับการทำพื้นรองเท้า หลายสี)
ด้วยการออกแบบให้มีระบบรางระบายน้ำด้านล่างพื้น มีขั้วเสียบต่อกันระหว่างแผ่น
จะได้9แผ่นต่อตารางเมตร
น้ำหนักต่อแผ่นประมาณ2กิโลกรัม(เนื้อหนา ทนทาน)
ราคาประมาณ200บาทต่อแผ่น(ใกล้เคียงกับต้นทุนการผลิต)
อายุการใช้งานมากกว่า10ปี (สำหรับสนามในร่ม)
หัวใจสำคัญ คือ ความปลอดภัยสูงสุด
สำหรับนักกีฬา ผู้ใช้ทางเดิน 3in1
ป้องกันการลื่น(เช่นบันได ทางลาดชัน พื้นห้องน้ำ)
ป้องกันการกระแทกได้ดี เป็นลู่วิ่งเอนกประสงค์(ทางเดินระเบียงบ้าน)
ป้องกันไรฝุ่น(พื้นรองเตียงนอน)
ขั้นตอนที่6 การตัดแต่ง เป็นการสร้างรายได้เสริมแก่สตรีในชุมชน
กลุ่มแม่บ้านจะรับงานตัดแต่ง(รับไปทำที่บ้าน หรือที่โรงงาน) รายได้2บาทต่อแผ่น
ตัวอย่าง พื้นลานกีฬาอเนกประสงค์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ทั้ง 5 วิทยาเขต และโรงเรียนที่อยู่ในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของวิทยาเขตอีก 5 โรงเรียน เช่น โรงเรียนรูสะมิแลที่ปัตตานี โรงเรียนบ้านหัวหมากล่าง อำเภอกาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี เป็นต้น โดยได้ดำเนินการเสร็จสิ้นไปแล้วใน 2 แห่งคือ สนามกีฬาของวิทยาเขตปัตตานี และ วิทยาเขตหาดใหญ่
" สามารถสร้างรายได้โดยตรง จากการให้บริการใช้สนาม
และรายได้ทางอ้อมจาก ผู้ชมการแข่งขัน "
ภาพก่อนการเปลี่ยนพื้นใหม่
ภาพโดย น้องนิว นักศึกษา มอ.หาดใหญ่
มาจากอ.ควนกาหลง จ.สตูล
ซึ่งอยู่ใกล้กับโรงงานผลิตพื้นสนามยางพารา
(การติดตั้ง เคลื่อนย้าย ง่ายและสะดวก จะสังเกตเห็นพื้นเก่าสีเขียว พื้นใหม่มีรางระบายน้ำ ตัวล็อคยึดแผ่น )
ภาพจาก สนามกีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ PSU Prince of Songkla University
ช่วยให้ชาวสวนยาง กลุ่มแม่บ้าน มีรายได้ที่ดีขึ้น
ผู้ใช้พื้นยางพารามีความปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ลดการเสียดุลการค้า ซึ่งปัจจุบันธุรกิจการส่งออกที่นำรายได้เข้าสู่ประเทศ
แท้ที่จริงแล้วเจ้าของธุรกิจส่งออกที่แท้จริงส่วนใหญ่ก็คือนักลงทุนต่างชาติ
แม้แต่ธุรกิจการบริการก็เช่นเดียวกัน
ถึงเวลาแล้วที่ชาวไทยพร้อมใจกัน นิยมไทยใช้ของไทย
เพราะคนไทยเริ่มพัฒนาคุณภาพสินค้า เพื่อแก้ปัญหาที่สำคัญที่สุดในขณะนี้
ปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกยางพาราเป็นอันดับหนึ่งของโลก
หากเราสามารถนำทรัพยากรที่มีมากเหมือน ข้าว พืชไร่ พืชสวน
มาสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยคุณภาพ
และช่วยกันอุดหนุนสินค้าไทย
จะทำให้เราเข้าสู่AECได้โดยไม่เสียเปรียบ
เพราะบางประเทศเช่น สิงคโปร์ แม้จะมีพื้นที่น้อย ทรัพยากรน้อย
แต่มีการพัฒนาคุณภาพประชากรและพัฒนาคุณภาพสินค้า
ก็สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้เช่นกัน
(เมื่อการผลิตไม่เอื้ออำนวย ก็เน้น การตลาด
เพราะการตลาด นำ การผลิต นั้นเอง)
1. สีไม่ลอก ไม่ขยายตัวจนพื้นนูนเมื่อเจอความร้อน นั้นคือทนแดดทนฝนมากกว่า7ปี
2. พื้นมีแรงเสียดทานที่ดี และมีความยืดหยุ่นพอเหมาะเพื่อการกีฬา ลูกบาสเก็ตบอลเด้งกระดอนได้ดี นักกีฬาวิ่งได้อย่างมั่นใจ ไม่มีกังวัลเรื่องการลื่น
ลดการบาดเจ็บ เพิ่มความปลอดภัย และเพิ่มประสิทธิภาพ( 3in1 )
เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดคือ พื้นส่วนบนใช้ยางสังเคราะห์ผสมสี ทำให้สีไม่หลุดลอก จึงมั่นใจในคุณภาพ
เฉพาะต้นทุนในเรื่องของสีพื้น ใส่คุณภาพมากกว่า180บาทต่อตารางเมตร(20บาทต่อแผ่น)
ขั้นตอนที่1 การเตรียมวัตถุดิบ คือการสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรชาวสวน
ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุด เพื่อให้ได้
สินค้าที่มีคุณภาพ พร้อมกับสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน( 3in1 )
ขั้นตอนที่2 การป้อนวัตถุดิบ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย การลงทุนเริ่มต้นกว่า20ล้านบาท
จึงมั่นใจในขั้นตอนการผลิต ใช้แป้งในการป้องกันการติด
ไม่มีสารเคมีที่เป็นอันตรายสู่ภายนอก จึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่3 การผลิตพื้นส่วนล่าง ด้วยสูตรพิเศษจะได้พื้นที่มีความยืดหยุ่นที่ดี
แม้แต่พับ180องศา ก็ไม่ขาด หรือแห้งกรอบ ต่างจากผลิตภัณฑ์ทั่วไป
ขั้นตอนที่4 การชั่งมาตรฐาน ระหว่าง พื้นส่วนล่างและพื้นส่วนบน(ยางสังเคราะห์ผสมสี คุณภาพสูง)
ขั้นตอนที่5 การเข้าเครื่องหลอมขึ้นรูป(คล้ายกันกับการทำพื้นรองเท้า หลายสี)
ด้วยการออกแบบให้มีระบบรางระบายน้ำด้านล่างพื้น มีขั้วเสียบต่อกันระหว่างแผ่น
จะได้9แผ่นต่อตารางเมตร
น้ำหนักต่อแผ่นประมาณ2กิโลกรัม(เนื้อหนา ทนทาน)
ราคาประมาณ200บาทต่อแผ่น(ใกล้เคียงกับต้นทุนการผลิต)
อายุการใช้งานมากกว่า10ปี (สำหรับสนามในร่ม)
หัวใจสำคัญ คือ ความปลอดภัยสูงสุด
สำหรับนักกีฬา ผู้ใช้ทางเดิน 3in1
ป้องกันการลื่น(เช่นบันได ทางลาดชัน พื้นห้องน้ำ)
ป้องกันการกระแทกได้ดี เป็นลู่วิ่งเอนกประสงค์(ทางเดินระเบียงบ้าน)
ป้องกันไรฝุ่น(พื้นรองเตียงนอน)
ขั้นตอนที่6 การตัดแต่ง เป็นการสร้างรายได้เสริมแก่สตรีในชุมชน
กลุ่มแม่บ้านจะรับงานตัดแต่ง(รับไปทำที่บ้าน หรือที่โรงงาน) รายได้2บาทต่อแผ่น
ตัวอย่าง พื้นลานกีฬาอเนกประสงค์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ทั้ง 5 วิทยาเขต และโรงเรียนที่อยู่ในจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของวิทยาเขตอีก 5 โรงเรียน เช่น โรงเรียนรูสะมิแลที่ปัตตานี โรงเรียนบ้านหัวหมากล่าง อำเภอกาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี เป็นต้น โดยได้ดำเนินการเสร็จสิ้นไปแล้วใน 2 แห่งคือ สนามกีฬาของวิทยาเขตปัตตานี และ วิทยาเขตหาดใหญ่
" สามารถสร้างรายได้โดยตรง จากการให้บริการใช้สนาม
และรายได้ทางอ้อมจาก ผู้ชมการแข่งขัน "
ภาพก่อนการเปลี่ยนพื้นใหม่
ภาพโดย น้องนิว นักศึกษา มอ.หาดใหญ่
มาจากอ.ควนกาหลง จ.สตูล
ซึ่งอยู่ใกล้กับโรงงานผลิตพื้นสนามยางพารา
(การติดตั้ง เคลื่อนย้าย ง่ายและสะดวก จะสังเกตเห็นพื้นเก่าสีเขียว พื้นใหม่มีรางระบายน้ำ ตัวล็อคยึดแผ่น )
ภาพจาก สนามกีฬา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ PSU Prince of Songkla University
นอกจากได้คุณภาพสินค้าที่ปลอดภัยสูงสุด
ยังเป็นโครงการ ยางพาราช่วยชาติช่วยให้ชาวสวนยาง กลุ่มแม่บ้าน มีรายได้ที่ดีขึ้น
ผู้ใช้พื้นยางพารามีความปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ลดการเสียดุลการค้า ซึ่งปัจจุบันธุรกิจการส่งออกที่นำรายได้เข้าสู่ประเทศ
แท้ที่จริงแล้วเจ้าของธุรกิจส่งออกที่แท้จริงส่วนใหญ่ก็คือนักลงทุนต่างชาติ
แม้แต่ธุรกิจการบริการก็เช่นเดียวกัน
ถึงเวลาแล้วที่ชาวไทยพร้อมใจกัน นิยมไทยใช้ของไทย
เพราะคนไทยเริ่มพัฒนาคุณภาพสินค้า เพื่อแก้ปัญหาที่สำคัญที่สุดในขณะนี้
ปัจจุบัน ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกยางพาราเป็นอันดับหนึ่งของโลก
หากเราสามารถนำทรัพยากรที่มีมากเหมือน ข้าว พืชไร่ พืชสวน
มาสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยคุณภาพ
และช่วยกันอุดหนุนสินค้าไทย
จะทำให้เราเข้าสู่AECได้โดยไม่เสียเปรียบ
เพราะบางประเทศเช่น สิงคโปร์ แม้จะมีพื้นที่น้อย ทรัพยากรน้อย
แต่มีการพัฒนาคุณภาพประชากรและพัฒนาคุณภาพสินค้า
ก็สามารถแข่งขันทางเศรษฐกิจได้เช่นกัน
(เมื่อการผลิตไม่เอื้ออำนวย ก็เน้น การตลาด
เพราะการตลาด นำ การผลิต นั้นเอง)
อ่านต่อ..(คลิกที่ บทความที่เก่ากว่า)