coffee ตำนานกาแฟส่งออก และพริกไทยที่ดีที่สุดในโลก
coffee ตำนานกาแฟส่งออก และพริกไทยที่ดีที่สุดในโลก Coffeeกาแฟพื้นบ้าน ใส่ใจด้วยศิลปะและวัฒนธรรม
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการซื้อขายสูงรองจากน้ำมันเชื้อเพลิง และขายรวมกับเครื่องดื่มอื่นๆได้ดี
คุณภาพคือมาตรฐานที่มีมาอย่างยาวนาน
คงความเป็นเอกลักษณ์โดยไม่เปลี่ยนแปลง
ด้วยศิลปะการผลิตด้วยมืออย่างแท้จริง
พร้อมวัตถุดิบเมล็ดกาแฟจากภาคใต้เมืองแห่งทะเล
และสูตรลับการผลิตที่แตกต่างจากกาแฟทั่วไป
กาแฟพื้นเมืองสตูล บ้านบูโล๊ะบาตู. ประวัติความเป็นมา ประมาณใน ปี 2514 นายมาหยีด อาหลัง (บิดา) ได้ทำสวนกาแฟ ที่อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ต่อมาได้เกิตสงครามคอมมิวนิสต์ (ถังแดง) ขึ้นบิดาจึงได้ย้ายครอบครัวจากพัทลุงมาอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
บิดาได้นำเมล็ดพืชกาแฟมาด้วยจำนวนหนึ่งจากนั้นได้นำมาเพาะปลูกและผลิต เป็นกาแฟเพี่อบริโภคภายในบ้านโดยใส่น้ำร้อน ใส่แก้วเติมนมข้นหวานลงไป คนให้เข้ากันแล้วดื่ม รสชาตหอมอร่อยมาก
คนทั่วไปเรียกกันว่า “ โกปี้”
ซึ่งมาจากการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมการติดต่อไปมาหาสู่ของคนในจังหวัดสตูลที่ค้าขายกับเกาะหมาก(เกาะปีนัง) ประเทศมาเลเซียซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
ในสมัยนั้นชาวมาเลเซียพื้นเมืองออกเสียงคำว่า “ คอฟฟี่” เป็น “ กูปี้” ซึ่งต่อมามีการเพี้ยนคำไปกลายเป็น “โกปี้”
เครื่องดื่มที่สร้างชื่อเสียงให้จังหวัดสตูลอีกอย่างคือ ชาชักสตูล ชาชักเงินล้าน ซึ่งนำชาเข้ามาจากประเทศมาเลเซีย บางสูตรจะใส่ชาผสม เช่นชาที่เพิ่มสีสัน และชาที่เพิ่มความหอม
วันที่1เดือน1พ.ศ.2475
อำมาตย์เอกพระยาสมันตรัฐบุรินทร์(บุรินทร์ สมันตรัฐ) ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล
ผลงานในข้อที่14.คือ แนะนำส่งเสริมให้ราษฎรทุกอำเภอปลูกกาแฟ พริกไทย
จนปรากฎว่าในขณะนั้นราษฎรต่างก็พากันทำสวนกาแฟและพริกไทยกันเป็นจำนวนมาก
จนเป็นสินค้าส่งออกไปขายยังต่างประเทศ(ปีนัง)
สำหรับกาแฟนั้นปรากฎสืบต่อกันมา ชาวสตูลนิยมปลูกกาแฟไว้กินตามบ้านโดยทั่วไปและ
ชาวสตูลนับว่านิยมการดื่มกาแฟเป็นประจำทุกครัวเรือน ใช้กาแฟเป็นสิ่งรับแขก
สังเกตได้ว่าพอแขกไปนั่งบ้านใด ไม่ว่าในป่า หมู่บ้านห่างไกล เจ้าบ้านจะยกกาแฟดำชงทั้งกากอย่างเข้มข้นออกรับแขกทันที
(สำหรับพริกไทยนั้นเป็นที่น่าเสียดายว่าได้ร่วงโรยสูญพันธุ์หมด เนื่องจากโรคราที่ไม่อาจจะปราบปรามได้ในสมัยนั้น)
ความจริงแล้วในอำเภอทุ่งหว้าปัจจุบันนี้ บ้านเรือนที่ปลูกสร้างขึ้นในตลาดเป็นอาคารคอนกรีตเกือบทั้งสิ้นแบบเดียวกับอาคารในจังหวัดภูเก็ต
ทั้งนี้เพราะราษฎรเหล่านั้นต่างพากันค้าขายร่ำรวยเพราะการทำสวนพริกไทยอย่างเดียว
(การทำสวนยางยังไม่เป็นอาชีพที่ล่ำสันจริงจังอย่างปัจจุบันนี้)
สวนพริกไทยที่ทุ่งหว้าและละงูมีตลาดใหญ่อยู่ที่จังหวัดตรัง และส่งออกจำหน่ายในมลายู
ในสมัยนั้นตลาดทางยุโรป นิยมพริกไทยจากตรังมาก ถือว่าเป็น พริกไทยที่ดีที่สุดในโลกในด้านคุณภาพ
เรียกกันว่า"ตารังเพบเบอร์"(TARANG PEPPER)เป็นที่รู้จัก
ที่มาของบทความ คัดจากหนังสือ เรื่อง "ประวัติและเรื่องน่ารู้ของพระยาสมันตรัฐบุรินทร์"
พิมพ์แจกเป็นบรรณาการในงานพระราชทานขมาศพ เมื่อวันที่26ตุลาคม2506
เผยแพร่บางส่วนในหนังสือ
เจ้าพระยานคร(น้อย) โอรสลับพระเจ้าตากสินมหาราช
พระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ เจ้าเมืองตรังยอดพัฒนา
พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล
พิมพ์เป็นอนุสรณ์ 90ปี ชาตกาล ครูบำรุง ใจสมุทร
90ปี การก่อตั้งสกุล ใจสมุทร
200ปี หลวงต่างใจราษฎร์ ต้นตระกูล ใจสมุทร
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีการซื้อขายสูงรองจากน้ำมันเชื้อเพลิง และขายรวมกับเครื่องดื่มอื่นๆได้ดี
คุณภาพคือมาตรฐานที่มีมาอย่างยาวนาน
คงความเป็นเอกลักษณ์โดยไม่เปลี่ยนแปลง
ด้วยศิลปะการผลิตด้วยมืออย่างแท้จริง
พร้อมวัตถุดิบเมล็ดกาแฟจากภาคใต้เมืองแห่งทะเล
และสูตรลับการผลิตที่แตกต่างจากกาแฟทั่วไป
ต่อมาได้เกิตสงครามคอมมิวนิสต์ (ถังแดง) ขึ้นบิดาจึงได้ย้ายครอบครัวจากพัทลุงมาอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
บิดาได้นำเมล็ดพืชกาแฟมาด้วยจำนวนหนึ่งจากนั้นได้นำมาเพาะปลูกและผลิต เป็นกาแฟเพี่อบริโภคภายในบ้านโดยใส่น้ำร้อน ใส่แก้วเติมนมข้นหวานลงไป คนให้เข้ากันแล้วดื่ม รสชาตหอมอร่อยมาก
คนทั่วไปเรียกกันว่า “ โกปี้”
ซึ่งมาจากการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมการติดต่อไปมาหาสู่ของคนในจังหวัดสตูลที่ค้าขายกับเกาะหมาก(เกาะปีนัง) ประเทศมาเลเซียซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
ในสมัยนั้นชาวมาเลเซียพื้นเมืองออกเสียงคำว่า “ คอฟฟี่” เป็น “ กูปี้” ซึ่งต่อมามีการเพี้ยนคำไปกลายเป็น “โกปี้”
เครื่องดื่มที่สร้างชื่อเสียงให้จังหวัดสตูลอีกอย่างคือ ชาชักสตูล ชาชักเงินล้าน ซึ่งนำชาเข้ามาจากประเทศมาเลเซีย บางสูตรจะใส่ชาผสม เช่นชาที่เพิ่มสีสัน และชาที่เพิ่มความหอม
ตำนานกาแฟส่งออก และพริกไทยที่ดีที่สุดในโลก
วันที่1เดือน1พ.ศ.2475
อำมาตย์เอกพระยาสมันตรัฐบุรินทร์(บุรินทร์ สมันตรัฐ) ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล
ผลงานในข้อที่14.คือ แนะนำส่งเสริมให้ราษฎรทุกอำเภอปลูกกาแฟ พริกไทย
จนปรากฎว่าในขณะนั้นราษฎรต่างก็พากันทำสวนกาแฟและพริกไทยกันเป็นจำนวนมาก
จนเป็นสินค้าส่งออกไปขายยังต่างประเทศ(ปีนัง)
สำหรับกาแฟนั้นปรากฎสืบต่อกันมา ชาวสตูลนิยมปลูกกาแฟไว้กินตามบ้านโดยทั่วไปและ
ชาวสตูลนับว่านิยมการดื่มกาแฟเป็นประจำทุกครัวเรือน ใช้กาแฟเป็นสิ่งรับแขก
สังเกตได้ว่าพอแขกไปนั่งบ้านใด ไม่ว่าในป่า หมู่บ้านห่างไกล เจ้าบ้านจะยกกาแฟดำชงทั้งกากอย่างเข้มข้นออกรับแขกทันที
(สำหรับพริกไทยนั้นเป็นที่น่าเสียดายว่าได้ร่วงโรยสูญพันธุ์หมด เนื่องจากโรคราที่ไม่อาจจะปราบปรามได้ในสมัยนั้น)
ความจริงแล้วในอำเภอทุ่งหว้าปัจจุบันนี้ บ้านเรือนที่ปลูกสร้างขึ้นในตลาดเป็นอาคารคอนกรีตเกือบทั้งสิ้นแบบเดียวกับอาคารในจังหวัดภูเก็ต
ทั้งนี้เพราะราษฎรเหล่านั้นต่างพากันค้าขายร่ำรวยเพราะการทำสวนพริกไทยอย่างเดียว
(การทำสวนยางยังไม่เป็นอาชีพที่ล่ำสันจริงจังอย่างปัจจุบันนี้)
สวนพริกไทยที่ทุ่งหว้าและละงูมีตลาดใหญ่อยู่ที่จังหวัดตรัง และส่งออกจำหน่ายในมลายู
ในสมัยนั้นตลาดทางยุโรป นิยมพริกไทยจากตรังมาก ถือว่าเป็น พริกไทยที่ดีที่สุดในโลกในด้านคุณภาพ
เรียกกันว่า"ตารังเพบเบอร์"(TARANG PEPPER)เป็นที่รู้จัก
ที่มาของบทความ คัดจากหนังสือ เรื่อง "ประวัติและเรื่องน่ารู้ของพระยาสมันตรัฐบุรินทร์"
พิมพ์แจกเป็นบรรณาการในงานพระราชทานขมาศพ เมื่อวันที่26ตุลาคม2506
เผยแพร่บางส่วนในหนังสือ
เจ้าพระยานคร(น้อย) โอรสลับพระเจ้าตากสินมหาราช
พระยารัษฎานุประดิษฐ์ฯ เจ้าเมืองตรังยอดพัฒนา
พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล
พิมพ์เป็นอนุสรณ์ 90ปี ชาตกาล ครูบำรุง ใจสมุทร
90ปี การก่อตั้งสกุล ใจสมุทร
200ปี หลวงต่างใจราษฎร์ ต้นตระกูล ใจสมุทร